คำกริยา 動詞 doushi โดชิ
คำกริยาภาษาญี่ปุ่นจะต้องมีการผันรูปคล้ายๆ กับภาษาอังกฤษที่มีการผันรูปกริยสามช่องมีทั้งรูปอดีต รูปถูกกระทำ ซึ่งภาษาญี่ปุ่นเองก็เหมือนกันมีการผันกริยาหลายรูป ไม่เหมือนภาษาไทยที่สามารถนำมาใช้ได้เลยไม่ต้องผันรูป ถ้าต้องการอยากจะระบุว่าเป็นอดีตก็ให้เติมคำว่า ~แล้ว หลังประโยค แต่ถ้าเป็นอนาคตก็เติมคำว่า ~จะ หน้าคำกริยา เช่น คำว่า กิน
รูปอดีต : ฉันกินข้าวแล้ว
รูปอนาคต : ฉันจะกินข้าว เป็นต้น
สำหรับภาษาญี่ปุ่นที่มีการผันรูปคำกริยามีหลายเหตุผลและหลายหลักการ เพื่อนำไปใช้ในแต่ละไวยากรณ์ เช่น การผันกริยาเพื่อแสดงคำสุภาพ บอกกาลเวลาว่าปัจจุบันหรืออดีต แสดงว่าเป็นประโยคบอกเล่าหรือปฏิเสธ เป็นต้น บทความนี้จะขอแนะนำรูปการผันกริยาที่ใช้กันบ่อยๆ จะได้มองภาพออกว่าเป็นประโยคที่แสดงลักษณะหรือสถานการณ์อะไร จบแล้วหรือยังไม่เกิดโดยให้สังเกตจากการลงท้ายประโยค จะไม่อธิบายเจาะลึกอะไรมากมายนะคะ โดยจะอธิบายโดยใช้ตารางตัวอย่างของกริยาที่ทำการผันเรียบร้อยแล้ว ได้แก่
- รูปพจนานุกรม 辞書形 jishokei จิโฉะเค
- รูป~ます -masu มะสุ/มัส ; เป็นรูปสุภาพ / ปัจจุบัน / บอกเล่า
- รูป~ました -mashita มะชิตะ ; เป็นรูปสุภาพ / อดีต / บอกเล่า
- รูป~ません -masen มะเซ็น ; เป็นรูปสุภาพ / ปัจจุบัน / ปฏิเสธ
- รูป~ませんでした -masendeshita มะเซ็นเดะชิตะ ; เป็นรูปสุภาพ / อดีต / ปฏิเสธ
- รูป~ない -nai นั่ย ; เป็นรูปกันเอง / ปัจจุบัน / ปฏิเสธ
- รูป~なかった -nakatta นะคัตตะ ; เป็นรูปกันเอง / อดีต / ปฏิเสธ
- รูป~て -te เทะ/เตะ ; เป็นรูปกันเอง / ปัจจุบัน / กำลังทำ,บอกสภาพ
- รูป~た -ta ทะ/ตะ ; เป็นรูปกันเอง / อดีต / บอกเล่า
辞書形
รูปพจนานุกรม
กันเอง
บอกเล่า
|
~ます
masu
สุภาพ/ปัจจุบัน/บอกเล่า
|
~ました
mashita
สุภาพ/อดีต/บอกเล่า
|
~ません masen
สุภาพ / ปัจจุบัน / ปฏิเสธ
|
~ませんでした masendeshita สุภาพ / ปัจจุบัน / ปฏิเสธ
|
~ない
nai
กันเอง/ปัจจุบัน/ปฏิเสธ
|
~なかった
nakatta
กันเอง / อดีต / ปฏิเสธ
|
~て
te
กันเอง / ปัจจุบัน / กำลังทำ,บอกสภาพ
|
~た
ta
กันเอง/อดีต/บอกเล่า
|
食べる
Taberu
ทะเบะรุ
กิน
|
食べます
Tabemasu
ทะเบะมัส
กิน
|
食べました
Tabemasita
ทะเบะมะชิตะ
กินแล้ว
|
食べません
Tabemasen
ทะเบะมะเซ็น
ไม่กิน
|
食べませんでした
Tabemasende shita
ทะเบะมะเซ็นเดะชิตะ
ไม่กินแล้ว
|
食べない
Tabenai
ทะเบะนั่ย
ไม่กิน
|
食べなかった
Tabenakatta
ทะเบะนะคัตตะ
ไม่กินแล้ว
|
食べて
Tabete
ทะเบะเตะ
กินอยู่
|
食べた
tabeta
ทะเบะตะ
กินแล้ว
|
ある
Aru
อะรุ
มี,อยู่
|
あります
Arimasu
อะริมัส
มี,อยู่
|
ありました
Arimashita
อะริมะชิตะ
มีแล้ว,อยู่แล้ว
|
ありません
Arimasen
อะริมะเซ็น
ไม่มี,ไม่อยู่
|
ありませんでした
Arimasendeshita
อะริมะเซ็นเดะชิตะ
ไม่มีแล้ว ,ไม่อยู่แล้ว
|
ない
Nai
นั่ย
ไม่มี,ไม่อยู่
|
なかった
Nakatta
นะคัตตะ
ไม่มีแล้ว,ไม่อยู่แล้ว
|
あって
Ate
อัตเตะ
กำลังมี,กำลังอยู่
|
あった
Atta
อัตตะ
มีแล้ว,อยู่แล้ว
|
呼ぶ
Yobu
โยะบุ
เรียก
|
呼びます
Yobimasu
โยะบิมัส
เรียก
|
呼びました
Yobimashita
โยะบิมะชิตะ
เรียกแล้ว
|
呼びません
Yobimasen
โยะบิมะเซ็น
ไม่เรียก
|
呼びませんでしたyobimasendeshita
โยะบิมะเซ็นเดะชิตะ
ไม่เรียกแล้ว
|
呼ばない
Yobanai
โยะบะนั่ย
ไม่เรียก
|
呼ばなかった
Yobanakatta
โยะบะนะคัตตะ
ไม่เรียกแล้ว
|
呼んで
Yonnde
ย่นเดะ
กำลังเรียก
|
呼んだ
yonnda
ย่นดะ
เรียกแล้ว
|
する
Suru
ซุรุ
ทำ
|
します
shimasu
ชิมัส
ทำ
|
しました
shimashita
ชิมะชิตะ
ทำแล้ว
|
しません
shimasen
ชิมะเซ็น
ไม่ทำ
|
しませんでしたshimasendeshita
ชิมะเซ็นเดะชิตะ
ไม่ทำแล้ว
|
しない
shinai
ชินั่ย
ไม่ทำ
|
しなかった
shinakatta
ชินะคัตตะ
ไม่ทำแล้ว
|
して
shite
ชิเตะ
กำลังทำ
|
した
shita
ชิตะ
ทำแล้ว
|
聞く
kiku
คิคุ
ฟัง
|
聞きます
kikimasu
คิคิมัส
ฟัง
|
聞きました
kikimashita
คิคิมะชิตะ
ฟังแล้ว
|
聞きません
kikimasen
คิคิมะเซ็น
ไม่ฟัง
|
聞きませんでしたkikimasendeshita
คิคิมะเซ็นเดะชิตะ
ไม่ฟังแล้ว
|
聞かない
shinai
ชินั่ย
ไม่ฟัง
|
聞かなかった
shinakatta
ชินะคัตตะ
ไม่ฟังแล้ว
|
聞いて
shite
ชิเตะ
กำลังฟัง
|
聞いた
shita
ชิตะ
ฟังแล้ว
|
จริงๆ แล้วหลักการผันกริยายังมีอีกหลายรูปที่ไม่ได้เอามาอธิบาย ถ้าใครสนใจอยากจะศึกษาให้มากกว่านี้ลองไปหาหนังสือตามร้านหนังสือมาอ่านเพิ่มเติมจะได้เข้าใจมากขึ้น สำหรับบทความนี้จะอธิบายคร่าวๆ เท่านั้น ค่ะ
ขอบคุณมาก ๆ ครับที่ช่วย เรื่องรูป
ตอบลบ